วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

รายงานคะแนนเก็บทั้งหมด





คะแนนเก็บทั้งหมด 1,750 คะแนน ข้าพเจ้าทำ

ได้ 1660 คะแนน

และมีจำนวนลายเซ็น / Stamp ชื่อครู 3 ครั้ง

วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรม 14-18 กุมพาพันธ์ 2554

กิจกรรมที่14ก.พ.-18ก.พ. 2554
รายงานการส่งงานทั้งหมดด


รายงานปริมาณที่ทำ -ทำทุกงานค่ะ ไม่มีไม่ทำ
ปัญหา-งานเยอะค่ะ ไม่มีเวลาอ่านหนังสือเลย
อื่นๆ- บางงานหนูไม่ได้ใส่ในบล็อกอยุ่สองงาน เพราะว่าทำไปแล้วว เช่น ใน e-book และในสมุด เลยไม่ได้ใส่ลงบล็อกซ้ำอีกมันก็เลยจะมีแค่ 7-8 ลิ้ง ไม่ใช่ 10


ให้สืบค้นข้อสอบรื่องปฏิกิริยาเคมี , ตารางธาตุ , ไอโซโทป , ครึ่งชีวิต จำนวน 5 ข้อโดยเป็นข้อสอบแบบ 4 ตัวเลือกพร้อมเฉลยโดยทำลงในบทความต่อจากการรายงานผลในข้อที่ 1


1. ตารางธาตุที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันจัดเรียงธาตุอย่างไร
1)จัดเรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก
2)จััดเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก
3)จัดเรียงตามเลขอะตอมจากมากไปน้อย
4)จัดเรียงตามการค้นพบก่อนหลัง

ตอบ 2


2. การกระทำในข้อใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1) การนำเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง
2) ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง
3) การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน
4) การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทำปฏิกิริยา

ตอบ 1



3. ธาตุ X อยู่ในหมู่ 7A คาบที่ 5 มีเลขมวล 129 ธาตุ X เป็นไปตามข้อใด
ก. มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์เป็น 129 X 53
ข. เป็นกึ่งโลหะ และมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
ค. มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2 8 18 18 5
ง. เป็นไอโซโทปกับธาตุ 127 I53
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.

ตอบ 4


4.ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นาที ถ้ามีไอโอดีน-128 ทั้งหมด 256 กรัม
จะใช้เวลาเท่าไรจึงจะเหลือไอโอดีน-128 อยู่ 32 กรัม
1) 50 นาที
2) 1 ชั่วโมง 15 นาที
3) 1 ชั่วโมง 40 นาที
4) 3 ชั่วโมง 20 นาที

แนวคำตอบ เวลาครึ่งชีวิต คือ เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับเวลาครึ่งชีวิตแล้วธาตุนั้นจะเหลืออยู่จำนวนครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม ดังนั้นข้อนี้สามารถทำได้ดังนี้
256 → 128 → 64 → 32


5.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือข้อใด
1)ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี พันธะโคเวเลนต
2)พันธะโคเวเลนต์ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย
3)อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย พื้นที่ผิว ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี
4)อุณหภูมิ พันธะโคเวเลนต์ พื้นที่ผิว ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี พันธะไอออนิก

ตอบ 3


6. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตารางธาตุ
1)ธาตุที่อยู่ซ้ายของตารางธาตุจะเสียอิเล็กตรอนง่าย
2)ธาตุที่อยู่ขวาของตารางธาตุจะเป็นอโลหะไม่นำไฟฟ้า
3)ธาตุที่อยู่ในแนวนอนของตารางธาตุจะมีสมบัติคล้ายคลึงกัน
4)ธาตุที่อยู่ติดเส้นขั้นบันไดเป็นธาตุกึ่งโลหะ

ตอบ 3


7.พิจารณาข้อมูลการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี M N O และ P ดังตารางต่อไปนี้

ธาตุใดมีครึ่งชีวิตน้อยที่สุด
1)M
2)N
3)O
4) P


ตอบ 4

วันพฤหัสบดีที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2554

กิจกรรม 20-24 ธันวาคม 2553


ตอบ 3
อธิบาย พีรามิดมวลของสิ่งมีชีวิต(pyramid of mass)โดยปิรามิดนี้แสดงปริมาณของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นของการกินโดยใช้มวลรวมของน้ำหนักแห้ง (dry weight) ของสิ่งมีชีวิตต่อพื้นที่แทนการนับจำนวนพีรามิดแบบนี้มีความแม่นยำมากกว่าแบบที่ 1 แต่ในความเป็นจริงจำนวนหรือมวล ของสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา เช่น ตามฤดูกาลหรือ ตามอัตราการเจริญเติบโต ปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นตัวแปรที่สำคัญอย่างไรก็ดีถึงแม้มวลที่มากขึ้นเช่นต้นไม้ใหญ่ จะผลิตเป็นสารอาหารของผู้บริโภคได้มากแต่ก็ยังน้อยกว่าที่ผู้บริโภคได้จากสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เช่น สาหร่ายหรือแพลงก์ตอนทั้งๆที่มวลหรือปริมาณของสาหร่ายหรือแพลงก์ตอนน้อยกว่ามาก ดังนั้นจึงมีการพัฒนาแนวความคิดในการแก้ปัญหานี้โดยในการเสนอรูปของพีรามิดพลังงาน (pyramid of energy)
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/54/2/WEB/page10.html


ตอบ 2
อธิบาย วัฏจักรกำมะถัน กำมะถันเป็นธาตุสำคัญธาตุหนึ่งในการสังเคราะห์โปรตีนหลายชนิด แหล่งกำมะถันส่วนใหญ่ได้จากการสบายตัวองสารอินทรีย์ที่ทับถมในดิน หรือตกตะกอนทับถมกันในดิน ในบรรยากาศพบกำมะถันเป็นจำนวนน้อย กำมะถันที่พบทั้งในดิน น้ำ บรรยากาศ ล้วนอยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และซัลเฟต ตัวการทีเปลี่ยนแปลงและควบคุมกำมะถันให้เป็นสารประกอบรูปต่างๆ มีทั้งตัวการทางชีวภาพ เช่น แบคทีเรีย ตัวการทางกายภาพ ได้แก่ การกัดเซาะและการตกตะกอน เป็นต้นที่มา http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/Web%20IS%20Environment%20gr.2/t_3/3_0.htm

ตอบ 3
อธิบาย ความสกปรกในรูปของอินทรีย์สารหรือบีโอดี(Biochemical oxygen demand:BOD) บีโอดี หมายถึง ปริมาณออกซิเจน ที่จุลินทรีย์ในน้ำใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ ตามมาตรฐานสากลจะวัดค่า BOD ภายในเวลา 5 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จึงเรียกว่า BOD 5 ในแหล่งน้ำใดถ้ามีค่า BOD สูง แสดงว่าน้ำนั้นเน่าเสียและสกปรกมาก ค่าบีโอดีที่เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพของน้ำ องค์การอนามัยโลกได้กำหนดค่า BOD ในน้ำที่มีคุณภาพดีหรือมาจากแหล่งน้ำธรรมชาติจะไม่เกิน 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนกระทรวงอุตสาหกรรมกำหนดค่า BOD ของน้ำตามมาตรฐานของน้ำทิ้งจากชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมไว้ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร น้ำที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะมีค่า BOD เท่ากับ 0-1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนน้ำที่มีคุณภาพเลวมากจะมีค่า BOD เท่ากับ 12 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป
ที่มา http://www.krumonbs.ob.tc/html/043.html


ตอบ 1
อธิบาย ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect)ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/usa_s/global_warming/sec01p01.html












กิจกรรม 13-17 ธันวาคม 2553


ตอบ 4.
อธิบาย ศัพท์การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรม
ที่มา http://warunee.chs.ac.th/sub.htm



ตอบ 2.
อธิบาย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้ออกเอกกสารเผยแพร่เล่มเล็กๆ สีสันสวยงามในชื่อ “เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการดัดแปรพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต” เพื่อเผยแพร่เรื่องราวและข้อสงสัยเกี่ยวกับ “จีเอ็มโอ” ซึ่งผู้จัดการวิทยาศาสตร์ได้นำรายละเอียดทั้งหมดมาให้อ่านกัน....
ที่มา http://www.pramot.com/gmo/gmoques.html





ตอบ 2.
อธิบาย กฎเกณฑ์ทางพันธุกรรมที่เมนเดลค้นพบนั้นไม่ใช่จะใช้ได้เฉพาะกับต้นถั่วลิสงเท่านั้น แต่เป็นกฎที่ใช้ได้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศรวมทั้งมนุษย์ด้วย มนุษย์มีโครโมโซม 23 คู่ แต่ละโครโมโซมมียีนมากมายหลายกลุ่มเรียงต่อๆ กันไป ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดตามกฎของเมนเดลเท่านั้นที่นักพันธุศาสตร์ได้ศึกษาไว้แล้วมีจำนวนมากมาย ซึ่งอาจแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภทคือ ลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนในออโตโซม และลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนในโครโมโซมเพศ


ที่มา https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=75683


ตอบ 1.
อธิบาย

ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)
เรียกโดยทั่วไปว่า ไบรโอไฟต์ (bryophyte) มีทั้งสิ้นประมาณ 16,000 ชนิด พืชในดิวิชันนี้มีขนาดเล็ก มีโครงสร้างง่าย ๆ ยังไม่มีราก ลำต้นและใบที่แท้จริง ชอบอาศัยอยู่ตามที่ชุ่มชื้น การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศยังต้องอาศัยน้ำสำหรับให้สเปิร์มที่มีแฟลกเจลลา (flagella) ว่ายไปผสมกับไข่ ต้นที่พบเห็นโดยทั่วไปคือแกมีโทไฟต์ (มีแกมีโทไฟต์เด่น) รูปร่างลักษณะมีทั้งที่เป็นแผ่นหรือแทลลัส (thallus) และคล้ายลำต้นและใบของพืชชั้นสูง (leafy form) มีไรซอยด์ (rhizoid) สำหรับยึดต้นให้ติดกับดินและช่วยดูดน้ำและแร่ธาตุ มีส่วนคล้ายใบ เรียก phylloid และส่วนคล้ายลำต้นเรียกว่า cauloid แกมีโทไฟต์ของไบรโอไฟต์มีสีเขียวเพราะมีคลอโรฟิลล์สามารถสร้างอาหารได้เอง ทำให้อยู่ได้อย่างอิสระ เมื่อแกมีโทไฟต์เจริญเต็มที่จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์คือสเปิร์มและไข่ต่อไป ภายหลังการปฏิสนธิของสเปิร์มและไข่จะได้ไซโกตซึ่งแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอและสปอร์โรไฟต์ตามลำดับ สปอโรไฟต์ของ ไบรโอไฟต์มีรูปร่างลักษณะง่าย ๆ ไม่สามารถอยู่ได้อย่างอิสระจะต้องอาศัยอยู่บนแกมีโทไฟต์ตลอดชีวิต พืชในดิวิชันนี้สร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว
ที่มา http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/bryophyta.htm


ตอบ 1.
อธิบายไวรัสไข้หวัดนกที่ระบาดในประเทศไทยเมื่อต้นปี 2004 มีชื่อเรียกว่า A/Chicken/Nakorn-Pathom/Thailand/CU-K2/04 (H5N1) ซึ่งเป็นไวรัสที่มีลักษณะก่อให้เกิดโรครุนแรง จัดเป็นชนิด highly pathogenic AI (HPAI) ซึ่งเชื้อที่แยกได้จากไก่จะมีลักษณะใกล้เคียงกับไวรัสไข้หวัดนกที่แยกเชื้อได้จากเป็ดในการระบาดที่ประเทศจีนเมื่อปี 2003 มากที่สุด A/Duck/China/E319.2/03 (H5N1) จากการศึกษารหัสพันธุกรรมของไวรัส พบว่ามี 20-codon deletion ในยีน neuraminidase และ 5-codon deletion ในยีน NS รวมทั้งพบ polymorphisms ของยีน M2 และยีน PB2 อีกด้วย
ที่มา http://bhumibol.panyathai.or.th/wiki/index.php/ไวรัสไข้หวัดนกหรือไวรัสสายพันธุ์_H5N1
ส่งอีเมลข้อมูลนี้ BlogThis! แบ่งปันไปที่ Twitter แบ่งปันไปที่ Facebook แบ่งปันไปที่ Google Buzz

กิจกรรม 22 - 26 พฤศจิกายน 2553









วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

กิจกรรม 8-12 พฤศจิกายน 2553

ตอบ 1.
อธิบาย ดีเอ็นเอ(DNA)สามารถทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม(Heredity)ของสิ่งมีชีวิตได้โดยอาศัยการเก็บในรูปของรหัสพันธุกรรม (genetic code) ซึ่งเมื่อถึงเวลาที่เซลล์ต้องการแบ่งตัวนั้นส่วนของดีเอ็นเอ(DNA)ก็จะมีการจำลองตัวเอง (replication) โดยดีเอ็นเอ(DNA)เกลียวคู่จะแยกออกจากกันเป็นสายเดี่ยวเพื่อใช้เป็นต้นแบบ (template) ให้กับการสังเคราะห์โพลีนิวคลีโอไทด์สายใหม่ โดยการเติมนิวคลีโอไทด์ทีละหนึ่งโมเลกุลในทิศทาง



ตอบ 4.
อธิบาย คำอธิบาย การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ และไม่มีแรงภายนอกมากระทำกับอนุภาค กระบวนการแพร่ก็จะยังคงเกิดถึงแม้ว่า จะสารจะผสมกันโดยสมบูรณ์หรือเข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว โดยพื้นฐานแล้ว การเคลื่อนที่ของโมเลกุล จากพื้นที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นที่ต่ำกว่าเรียกว่าการแพร่ทั้งสิ้น




ตอบ 2.
อธิบาย คำอธิบาย การที่ดืมแอลกอฮอล์แล้วปัสสาวะออกมามากก็เพราะ แอลกอฮอล์ไปยับยั้งการทำงานของฮอน์โมน vasopressin หรือ Antidiuretic hormone (ADH) เพราะ ADH มีหน้าที่ควบคุมการดูดกลับของน้ำ ถ้าปกติแล้วเราจะขับปัสสาวะในปริมาณที่เป้นปกติในแต่ละวัน แต่ถ้าเมื่อใดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เข้าไปมาก ๆ มันก็จะไปยับยั้งการทำงานของ ADH ทำให้มันสับสนและเกิดความแปรปรวน แทนที่จะดูดน้ำกลับ แต่ก็ไม่สามารถควบคุมในส่วนหน้าที่นี้ได้จึงทำให้ควบคุมการปัสสาวะไม่ได้ จึงปล่อยน้ำออกมาบ่อยหรือในปริมาณมากนั่นเอง



ตอบ 3.
อธิบาย สารละลายบัฟเฟอร์ หมายถึง สารละลายที่ได้จากการผสมของกรดอ่อนกับคู่เบส



ตอบ 1.
อธิบาย กระทำโดยการป้องกันไม่ให้พืชเป็นโรค อาจทำโดยการใช้สารฆ่าแมลงฉีดพ่นเพื่อลดจำนวนแมลงพาหะเมื่อทำการปลูกพืช อาจใช้ความร้อนเข้าช่วยในการกำจัดเชื้อไวรัสออกไปจากตอพันธุ์ หรือตัดเอา apical meristem จากยอดอ่อนพืชที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วไปทำการขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ( tissue culture ) ซึ่งจะทำให้ได้ต้นพืชที่ปลอดเชื้อไวรัส






ตอบ 4.
อธิบาย (Antibody, Ab) เป็นสารนํ้าที่สร้างและหลั่งจาก plasma cell ซึ่งมีคุณสมบัติคือantigenic determinant ของแอนติเจน (antigen, Ag) ที่เป็นตัวกระตุ้นได้อย่างจำ เพาะ เมื่อ(electrophoresis) พบว่าแอนติบอดีส่วนใหญ่อยู่ในส่วนของ γ-และมีส่วนน้อยที่อยู่ในส่วนของ β-globulin ดังนั้นจึงเรียกแอนติบอดีได้ว่า Immunoglobulin





ตอบ 2.
อธิบาย น้ำเกลือ (อังกฤษ: saline water) เป็นคำศัพท์ทั่วไปที่ใช้เรียกน้ำที่มีความหนาแน่นของสารละลาย เกลือ (NaCl) สูงเป็นพิเศษเช่นเดียวกับนำเชื่อม




ตอบ 4.
อธิบาย กวานีน เบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ สูตรเคมีคือ C5H5N5O มีอยู่ใน DNA และ RNA
ที่มา







ตอบ 3.
อธิบาย โรคธาลัสซีเมีย คือ โรคซีดชนิดหนึ่งที่สามารถติดต่อได้โดยทางกรรมพันธุ์ และมีการสร้างฮีโมโกลบิน ทำให้เม็ดเลือแดงมีลักษณะผิดปรกติและแตกง่าย ก่อให้เกิดอาการซีด เลือดจางเรื้อรัง และมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ส่วนใหญ่ผู้ที่เป็นโรคนี้จะได้รับยีนที่ผิดปรกติของพ่อ และแม







ตอบ 4.
อธิบาย โรคธาลัสซีเมีย คือ โรคซีดชนิดหนึ่งที่สามารถติดต่อได้โดยทางกรรมพันธุ์ และมีการสร้างฮีโมโกลบิน ทำให้เม็ดเลือแดงมีลักษณะผิดปรกติและแตกง่าย ก่อให้เกิดอาการซีด เลือดจางเรื้อรัง และมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ส่วนใหญ่ผู้ที่เป็นโรคนี้จะได้รับยีนที่ผิดปรกติของพ่อ และแม

วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 4 รหัส ว 43282 ช่วงชั้นที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น ม. 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค
1. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายกระบวนการที่สารผ่านเซลล์ และการรักษาดุลยภาพของเซลล์
2. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ อุณหภูมิ กรด-เบสและแร่ ธาตุต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิต
3. นำความรู้เรื่องการรักษาดุลยภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสิ่งมีชีวิตอื่น
4. สำรวจ สังเกตลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตต่างๆในท้องถิ่น ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย และจำแนกเป็นกลุ่มได้
5. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปรายและนำเสนอประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ และผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำเสนอคุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
7. สังเกตสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในสภาพแวดล้อมและสร้างสถานการณ์จำลองแสดงถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
8. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
9. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจาก สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ
10. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุ และการเกิดปฏิกิริยา
11. อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
12. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลหรือในโครงผลึกของสาร และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสาร ในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
13. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบและเลขอะตอมของธาตุ